ดวง จันทร์ ของ ดาว พฤหัส

มา-ย-ครา-ฟ-1-2-6
October 16, 2021, 7:50 am
  1. บริวารใหม่ของดาวพฤหัสบดี เจอยกโหล - สมาคมดาราศาสตร์ไทย
  2. ดวงจันทร์ของดาวเสาร์ - LESA: ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์

ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า ดาวพฤหัสบดีและดาวเคราะห์ก๊าซดวงใหญ่ที่อยู่รอบนอกของระบบสุริยะ สลัดตัวออกมาจากกลุ่มก้อนก๊าซต้นกำเนิดดวงอาทิตย์ เมื่อประมาณ ๔, ๖๐๐ ล้านปีก่อน ข้อมูลนี้ยืนยันจากยานอวกาศ เมื่อสำรวจพบธาตุต่างๆ ในสัดส่วนใกล้เคียงกับธาตุที่มีในดวงอาทิตย์ ซึ่งประกอบด้วยไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นสำคัญ ยานอวกาศคัสซีนีถ่ายภาพดาวพฤหัสบดี เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม พ. ศ.

บริวารใหม่ของดาวพฤหัสบดี เจอยกโหล - สมาคมดาราศาสตร์ไทย

019 20 722 566 −609. 43 147. 248° 0. 2874 25 S/2003 J 16 20 743 779 −610. 36 150. 769° 0. 3184 26 XXVII แพรกซิดิกี Praxidike 0. 043 20 823 948 −613. 90 144. 205° 0. 1840 27 XXII ฮาร์แพลิกี Harpalyke 0. 012 21 063 814 −624. 54 147. 223° 0. 2440 28 XL นีมี Mneme 21 129 786 −627. 48 149. 732° 0. 3169 แกล็ดแมน และคณะ 29 XXX เฮอร์มิปพี Hermippe 21 182 086 −629. 81 151. 242° 0. 2290 อะแนงคี? 30 XXIX ไทโอนี Thyone 21 405 570 −639. 80 147. 276° 0. 2525 31 XII Ananke 3. 0 21 454 952 −642. 02 151. 564° 0. 3445 1951 32 S/2003 J 17 22 134 306 −672. 75 162. 490° 0. 2379 คาร์มี 33 XXXI ไอต์นี Aitne 22 285 161 −679. 64 165. 3927 34 XXXVII เคลี Kale 22 409 207 −685. 32 165. 378° 0. 2011 35 XX เทย์จิที Taygete 0. 016 22 438 648 −686. 67 164. 890° 0. 3678 S/2003 J 19 22 709 061 −699. 12 164. 727° 0. 1961 37 XXI แคลดีนี Chaldene 0. 007 5 22 713 444 −699. 33 167. 070° 0. 2916 38 S/2003 J 15 22 720 999 −699. 68 141. 812° 0. 0932 39 S/2003 J 10 22 730 813 −700. 13 163. 813° 0. 3438 คาร์มี? 40 S/2003 J 23 22 739 654 −700.

๒๑๕๓ เมื่อกาลิเลโอส่องกล้องโทรทรรศน์ค้นพบดาวบริวาร ๔ ดวงใหญ่ คือ ไอโอ ยูโรปา แกนิมีด และคัลลิสโต ต่อจากนั้น มีการค้นพบดาวบริวารของดาวพฤหัสบดีเพิ่มขึ้น ตามกำลังขยาย ของกล้องโทรทรรศน์ และเมื่อนักดาราศาสตร์ใช้เทคโนโลยีการถ่ายภาพด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ติดกับกล้องโทรทรรศน์ ทำให้ค้นพบดาวบริวารดวงเล็กๆ เพิ่มขึ้น ใน พ. ๒๕๔๗ นับจำนวนดาวบริวารที่ค้นพบแล้วอย่างน้อย ๖๓ ดวง ดาวบริวารที่ค้นพบใหม่ล้วนมีขนาดเล็ก ดวงเล็กที่สุดมีเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงประมาณ ๐. ๕ กิโลเมตร ดาวบริวารเหล่านี้โคจรห่างจากดาวดวงแม่ไกลออกไปหลายสิบล้านกิโลเมตร มีวงโคจรรีมาก และโคจรเอียง ออกจากระนาบศูนย์สูตรของดาวพฤหัสบดีมากด้วย หลายดวงโคจรสวนทางกับการหมุนรอบตัวเอง ของดาวพฤหัสบดี ลักษณะเช่นนี้ทำให้สันนิษฐานว่า คงเป็นดาวเคราะห์น้อย ที่ถูกดาวพฤหัสบดี ดูดจับมาเป็นดาวบริวารในภายหลัง ไอโอ ยูโรปา แกนิมีด คัลลิสโต (ภาพอนุเคราะห์โดย NASA/JPL) ลักษณะดาวบริวาร ๔ ดวงใหญ่ของดาวพฤหัสบดี ๑. ไอโอ: ดินแดนแห่งภูเขาไฟ ไอโอ (Io) มีพื้นผิวสีส้มแดง เต็มไปด้วยรอยด่างขาวของภูเขาไฟและซากจากการ ระเบิดกระจายทั่วดวง ไม่พบหลุมอุกกาบาตแสดงว่า พื้นผิวยังใหม่ และอายุน้อย พบภูเขาไฟหลายแห่งกำลังระเบิด ปะทุพ่นมวลสาร จำพวกกำมะถันออกมาจากปล่องภูเขาไฟ เป็นลาวาสูงเหนือพื้นผิวมากกว่า ๓๐๐ กิโลเมตร ไหลปกคลุมพื้นผิว แสดงให้เห็นว่าใจกลางดวงมีอุณหภูมิสูงจัดจนหินหลอมละลาย จึงเป็นดินแดนแห่งภูเขาไฟ รุนแรงที่สุดในระบบสุริยะ พื้นผิวยูโรปา ถ่ายภาพโดยยานกาลิเลโอ ในช่วง พ.

6 11 187 781 +241. 75 27. 562° 0. 1673 1974 โควาล ไฮเมเลีย 11 VI Himalia 170 670 11 451 971 +250. 37 30. 486° 0. 1513 1904 เพอร์รีน 12 X ไลซิเทีย Lysithea 36 6. 3 11 740 560 +259. 89 27. 006° 0. 1322 1938 นิโคลสัน 13 VII เอลารา Elara 86 87 11 778 034 +261. 14 29. 691° 0. 1948 1905 14 — ดีอา Dia 0. 009 0 12 570 424 +287. 93 27. 584° 0. 2058 2001 เชปเพิร์ดและคณะ 15 XLVI คาร์โป Carpo 0. 004 5 17 144 873 +458. 62 56. 001° 0. 2735 2003 S/2003 J 12 0. 000 15 17 739 539 −482. 69 142. 680° 0. 4449 เชปเพิร์ดและคณะ? 17 XXXIV ยูพอเรีย Euporie 0. 001 5 19 088 434 −538. 78 144. 694° 0. 0960 2002 อะแนงคี 18 S/2003 J 3 19 621 780 −561. 52 146. 363° 0. 2507 19 S/2003 J 18 19 812 577 −569. 73 147. 401° 0. 1569 แกล็ดแมนและคณะ 20 XLII เทลซิโนอี Thelxinoe 20 453 753 −597. 61 151. 292° 0. 2684 21 XXXIII ยูแอนที Euanthe 20 464 854 −598. 09 143. 409° 0. 2000 22 XLV เฮลิกี Helike 20 540 266 −601. 40 154. 586° 0. 1374 23 XXXV ออร์ทอเซีย Orthosie 20 567 971 −602. 62 142. 366° 0. 2433 24 XXIV ไอโอแคสตี Iocaste 0.

  1. แค รี่ บ อย วี โก้ แค ป
  2. 18. History Brush Tool ใน Photoshop CS3
  3. เจ้าของไวนิลหลอนเปิดใจ! แค่ต้องการเชิญชวนให้คนมาทำบุญ ไม่ได้ว่าร้ายใคร แม้สร้างคอนโดฯทำเสียรายได้
  4. “ดาวเสาร์” โค่นแชมป์เก่า“ดาวพฤหัสฯ” ผงาด “ราชาดวงจันทร์” ผู้ทรงอิทธิพลของกาแลกซี่ สยามรัฐ
  5. วิธีใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เพื่อการฟื้นกำลังอย่างรวดเร็ว Nike TH
  6. มหา เถ เร ปะ มา เท นะ
  7. Garmin Dash Cam 56 กล้องติดรถยนต์ GPS 1440p with 140-degree Field of View - โปรโมชั่น คุ้มสุด

ดาวพฤหัสบดีกับดาวบริวารบริวารที่ใหญ่ที่สุด 4 ดวง ดาวพฤหัสบดี มี ดาวบริวาร เท่าที่ค้นพบและยืนยันแล้ว 80 ดวง ขณะนี้มันจึงเป็นดาวเคราะห์ที่มีบริวารมากที่สุดในระบบสุริยะ [1] ดาวบริวารที่มีมวลมากที่สุด 4 ดวงหรือ ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ ถูกค้นพบในปี ค. ศ.

ดวงจันทร์ของดาวเสาร์ - LESA: ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์

ม. ) มวล (10 16 ก. ก. ) กึ่งแกนเอก ( ก. ) [2] คาบดาราคติ ( วัน) [2] [# 3] ความเอียงของวงโคจร ( °) [2] ความเยื้องศูนย์กลาง [3] ปีที่ค้นพบ [4] ผู้ค้นพบ [4] กลุ่ม [# 4] 1 XVI มีทิส Metis 60×40×34 ~3. 6 127 690 +7h 4m 29s 0. 06° [5] 0. 000 02 1979 ซินนอตต์ ( วอยเอเจอร์ 1) รอบใน 2 XV แอดรัสเทีย Adrastea 20×16×14 ~0. 2 128 690 +7h 9m 30s 0. 03° [5] 0. 0015 จิวอิตต์ ( วอยเอเจอร์ 2) 3 V แอมัลเทีย Amalthea 250×146×128 208 181 366 +11h 57m 23s 0. 374° [5] 0. 0032 1892 บาร์นาร์ด 4 XIV ทีบี Thebe 116×98×84 ~43 221 889 +16h 11m 17s 1. 076° [5] 0. 0175 ซินนอตต์ (วอยเอเจอร์ 1) 5 I ไอโอ Io 3660. 0×3637. 4 ×3630. 6 8 900 000 421 700 +1. 769 137 786 0. 050° [5] 0. 0041 1610 กาลิเลโอ 6 II ยูโรปา Europa 3121. 6 4 800 000 671 034 +3. 551 181 041 0. 471° [5] 0. 0094 7 III แกนีมีด Ganymede 5262. 4 15 000 000 1 070 412 +7. 154 552 96 0. 204° [5] 0. 0011 8 IV คัลลิสโต Callisto 4820. 6 11 000 000 1 882 709 +16. 689 018 4 0. 205° [5] 0. 0074 9 XVIII เทมิสโต Themisto 0. 069 7 393 216 +129. 87 45. 762° 0. 2115 1975/2000 โควาล และ โรเมอร์ / เชปเพิร์ด และคณะ 10 XIII ลีดา Leda 16 0.

๒๑๕๓ และพบว่า ดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวาร ๔ ดวง เห็นเป็นจุดสว่างเล็กเท่าปลายเข็มหมุดในกล้องโทรทรรศน์ ผู้คนนิยมเรียกดาวบริวาร ๔ ดวงนี้ว่า ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ (Galilean satellites) คือ ไอโอ ยูโรปา แกนิมีด และคัลลิสโต จนอีก ๓๘๕ ปีต่อมา มนุษย์จึงสามารถส่ง ยานอวกาศกาลิเลโอ เดินทางสำรวจรอบดาวพฤหัสบดี และเฉียดใกล้ดาวบริวาร ๔ ดวงใหญ่ ในช่วง พ.

84 164. 980° 0. 2761 57 S/2003 J 5 23 973 926 −758. 34 165. 549° 0. 3070 58 IX ซิโนพี Sinope 7. 5 24 057 865 −762. 33 153. 778° 0. 2750 1914 59 XXXVI สปอนดี Sponde 24 252 627 −771. 60 154. 372° 0. 4431 XXVIII ออทอโนอี Autonoe 24 264 445 −772. 17 151. 058° 0. 3690 61 XLIX คอรี Kore 23 345 093 −776. 02 137. 371° 0. 1951 62 XIX เมกาไคลตี Megaclite 0. 021 24 687 239 −792. 44 150. 398° 0. 3077 63 S/2003 J 2 30 290 846 −1 077. 02 153. 521° 0. 1882 ↑ อันดับเรียงตามระยะทางเฉลี่ยจากดาวบริวารไปยังดาวพฤหัสบดี ↑ ลำดับเรียงตาม เลขโรมัน เป็นลำดับที่เรียงตามการค้นพบดาวบริวารนั้น ๆ ↑ คาบการโคจรที่เป็นลบ แสดงว่าดาวนั้นโคจรทวนกับดาวดวงอื่นที่มีคาบเป็นบวก ↑ "? " แสดงถึงดาวบริวารที่ยังมีกลุ่มไม่แน่นอน อ้างอิง [ แก้] ↑ "Solar System Bodies". JPL/NASA. สืบค้นเมื่อ 2008-09-09. ↑ 2. 0 2. 1 2. 2 "Natural Satellites Ephemeris Service". IAU: Minor Planet Center. สืบค้นเมื่อ 2008-09-03. Note: some semi-major axis were computed using the µ value, while the eccentricities were taken using the inclination to the local Laplace plane ↑ Sheppard, Scott S. "Jupiter's Known Satellites".

ภาพอินฟราเรดแสดงให้เห็นบรรยากาศขั้นต่างๆ ของดวงจันทร์ไททัน 2. รอยแตกของกำแพงน้ำแข็งบนดวงจันทร์เอนเซลาดุส 3. หลุมเครเตอร์ขนาดใหญ่บนดวงจันทร์มิมาส 4. ทัศนียภาพที่มองจากกระสวยฮอยเกนส์ขณะลงสู่พื้นผิวของดวงจันทร์ไททัน 5. เทคนิค False color ทำให้มองเห็นอนุภาคน้ำแข็งที่พ่นออกมาจากพื้นผิวของเอนเซลาดุส 6. ดวงจันทร์ฟีบี 7. ดวงจันทร์ไอเอปีทุส 8. ดวงจันทร์รีอา ข้อมูลสำคัญ​ ไททัน เป็นดวงจันทร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 5, 150 กิโลเมตร แพน เป็นดวงจันทร์ที่อยู่ใกล้ดาวเสาร์มากที่สุด โดยมีระยะห่าง 133, 583 กิโลเมตร แพน เป็นดวงจันทร์ที่โคจรรอบดาวเสาร์โดยใช้เวลาน้อยที่สุดเพียง 13. 8 ชั่วโมง ไททัน ถูกค้นพบโดยคริสเตียน ฮอยเกนส์ ในปี พ. ศ. 2198 แรงไทดัลทำให้ไททันและดวงจันทร์อีก 16 ดวง หันด้านเดียวเข้าหาดาวเสาร์ เช่นเดียวกับที่ดวงจันทร์หันด้านเดียวเข้าหาโลก