ขั้น ตอน การ ประเมิน คุณภาพ ภายนอก

หา-งาน-แม-โจ-สนทราย
October 8, 2021, 7:55 am
  1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1
  2. เปิด  5  ขั้นตอน  การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่  ของ สมศ.
  3. Villaggio 2 พระราม 2 pantip
  4. ขั้นตอนการประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) »
  5. ขั้นตอนการดำเนินงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ของ สมศ. - ครูอาชีพดอทอคม

คณะผู้ประเมินภายนอกลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม (Site Visit) เพื่อประชุมเสวนาสร้างสรรค์ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพกับบุคลากร หลักฐานเชิงประจักษ์และหน่วยงาน/บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพิ่มเติม รวมทั้งทำรายงานผลประเมินด้วยวาจา 5. คณะผู้ประเมินภายนอกจัดทำรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก (EQA Report) พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษา แล้วจัดส่งให้ สมศ. เพื่อพิจารณาให้การรับรองผลการประเมิน จากนั้น สมศ. จะจัดส่งให้กับสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแล คลิกที่นี่. เพื่อรับชมวิดีโอแนะนำ ขั้นตอนการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ของ สมศ. ที่มา สมศ.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1

adobe premiere pro cs6 สอน

เปิด  5  ขั้นตอน  การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่  ของ สมศ.

ดู หนัง ออนไลน์ อินเดีย พากย์ ไทย

Villaggio 2 พระราม 2 pantip

มือ ถือ หลุด จำนำ ราคา ถูก

ขั้นตอนการประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) »

คณะผู้ประเมินภายนอกจัดทำรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก (EQA Report) พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษา แล้วจัดส่งให้ สมศ. เพื่อพิจารณาให้การรับรองผลการประเมิน จากนั้น สมศ. จะจัดส่งให้กับสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแล สามารถติดตามข่าวสาร กิจกรรม ของ สมศ. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) ได้ทาง Facebook: Line: Website: YouTube: ขั้นตอนการดำเนินงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ของ สมศ. ขอบคุณที่มาของเนื้อหา: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)

ขั้นตอนการดำเนินงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ของ สมศ. - ครูอาชีพดอทอคม

วันนี้ (29 กุมภาพันธ์ 2563) สำนักงานรับรองและประเมินคุณภาพการศึกษา หรือ สมศ. เผย ขั้นตอนการดำเนินงาน การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ สี่ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ขั้นตอนการดำเนินงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ของสำนักงานรับรองและประเมินคุณภาพการศึกษา หรือ สมศ. มีกระบวนการอย่างไรบ้าง 1. สถานศึกษาประเมินตนเอง (Self-Assessment) แล้วจัดส่งรายงานการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดวิเคราะห์ SAR ส่งให้ สมศ. ตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่กำหนด 2. สมศ. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา (Pre-Analysis) จากฐานข้อมูลของหน่วยงานต้นสังกัด 3. คณะผู้ประเมินพิจารณาผลการดำเนินงานของสถานศึกษาพร้อมกับวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน (Pre-Assessment) เพื่อวางแผนการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม โดยกำหนดไว้ 3 รูปแบบ คือ – Non-visit (ไม่มีการลงพื้นที่) – Partial-visit (ลงพื้นที่ 1-2 วัน) – Full-visit (ลงพื้นที่ 3 วัน) 4. คณะผู้ประเมินภายนอกลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม (Site Visit) เพื่อประชุมเสวนาสร้างสรรค์ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพกับบุคลากร หลักฐานเชิงประจักษ์และหน่วยงาน/บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพิ่มเติม รวมทั้งทำรายงานผลประเมินด้วยวาจา 5.

  • เปิดแนวโน้ม อาชีพดาวร่วง - ดาวรุ่ง ประจำปี 2563 มีอาชีพไหนที่ควรระวังบ้าง?
  • รวมของมงคลไหว้เจ้า เทศกาลตรุษจีน 64 ต้องมีอะไรบ้าง? - Samyan Mitrtown
  • ICloud เต็มทำไงดี??? - Pantip
  • Sofa bed sb furniture ราคา leather
  • วิธี ทํา ซอส เท อริ ยา กิ ง่ายๆ
  • ไฟ ดับ เบรก เกอร์ ตัด
  • หลักการ ดูแล สุขภาพ เบื้องต้น 5 อ

ความเชื่อถือได้ (Validity/Credibility) หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษา ที่เกิดจากผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการวิเคราะห์ความเชื่อถือได้มาจากการใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่หลากหลายใช้หลักฐานหรือสารสนเทศเชิงประจักษ์ หรือมีข้อมูลจากหลายแหล่งในการตัดสินผลการดำเนินงาน ซึ่งรวมทั้งข้อมูลสารสนเทศหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ ที่อยู่ในระบบฐานข้อมูลที่ง่ายแก่การตรวจสอบและข้อมูลที่อาจไม่ได้อยู่ในระบบฐานข้อมูล แต่เกิดขึ้นตามสภาพจริง โดยผลการประเมินคุณภาพการศึกษาในด้านนั้น ๆ เมื่อตรวจสอบจากหลักฐานเชิงประจักษ์มีความตรงตามสภาพจริง เหมาะสมชัดเจน เป็นที่ยอมรับได้ 4. ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นของการปฏิบัติตามแผนการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้ อันเป็นผลที่เกิดต่อผู้เรียน ต่อโรงเรียน ต่อศูนย์พัฒนาเด็ก หรือต่อวงวิชาการ ซึ่งผลการดำเนินงานมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง มีนวัตกรรมและเป็นแบบอย่างที่ดี 5. นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ เพื่อแก้ปัญหา หรือเพื่อการพัฒนา ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างสิ้นเชิงหรือ อย่างเห็นได้ชัดเป็นการพัฒนาต่อยอด เพิ่มมูลค่า มีเป้าหมายในเชิงบวก ซึ่งมีเกณฑ์การพิจารณา คือ มีความสร้างสรรค์ (C – Creative) มีความใหม่ในบริบทนั้น ๆ (N – New) มีคุณค่ามีประโยชน์ (V – Value Added) ปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม (A – Adaptive) 6.