นร ธา เม ง สอ

ขาย-ฮา-เล-ย-อน-ว-อย
October 10, 2021, 4:53 am

ใหม่!! : นรธาเมงสอและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี · ดูเพิ่มเติม » แคว้นล้านนา แคว้นล้านนา เป็นอาณาจักรอันเป็นประเทศราชของราชวงศ์ตองอู และ อยุธยา ช่วงระหว่างปี.. ใหม่!! : นรธาเมงสอและแคว้นล้านนา · ดูเพิ่มเติม » เจ้าพลศึกศรีสองเมือง ระเจ้าศรีสองเมือง หรือ เจ้าพญาพลเสิกซ้ายไชยสงคราม เป็นพระโอรสในพระญาหน่อคำไชยเสถียรสงคราม เจ้าเมืองน่าน ทรงครองราชย์แคว้นล้านนาใน.. ใหม่!! : นรธาเมงสอและเจ้าพลศึกศรีสองเมือง · ดูเพิ่มเติม » เจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ เจ้าเมืองน่านตั้งแต่ปี พ. 2139 ต่อจากพระญาหน่อคำเสถียรไชยสงครามพร.. ใหม่!! : นรธาเมงสอและเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ · ดูเพิ่มเติม » เปลี่ยนเส้นทางที่นี่: มังนรธาช่อ สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ สาวถีนรตามังซอศรีมังสรธาช่อ พระเจ้าสาวถี เจ้าฟ้าสารวดี

นรธาเมงสอ - วิกิพีเดีย

"พระไชยธิป" พระอนุชาของเมงตุลอง (พระทุลอง) ปรากฏพระนามอยู่ในพระราชพงศาวดารฯ ฉบับความพิสดารของไทย แต่ไม่ปรากฏพระนามในพงศาวดารพม่า สันนิษฐานว่าพระองค์น่าจะเป็นพระอนุชาร่วมอุทรของเมงตุลอง พระองค์ทรงมาประทับยังพระนครศรีอโยทธยาในฐานะตัวจำนำแทนพระเชษฐา ๓.

มเหสีพม่าของสมเด็จพระนเรศวร

ศ. ๒๑๒๓ หรือ ๒๑๒๔ ดังนั้นพระนางโยเดียมี้พญา น่าจะประสูติ ในราวปี พ. ๒๑๒๒ หรือ ๒๑๒๓ พระนางทรงมีพระชนม์มายุ น้อยกว่าสมเด็จพระนเรศ ๒๖ ปี ทรงถวายตัวเป็นมเหสีในปี พ. ๒๑๔๓ พระชันษาใน ขณะนั้น ราว ๒๐ ปี พระราชธิดาของสมเด็จพระนเรศพระองค์ที่อภิเษกสมรสกับพระมังสาตุลองน่าจะทรงมีพระชนม์ใกล้เคียงกับพระนางโยเดียมี้พญาหรืออ่อนกว่า ลงไปถวายตัวที่ โยธิยา ประมาณ 1602–1605(พ. 2143 ถึง พ.

เปิดประวัติศาสตร์ พระมเหสีของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช - บริษัท ไชยนารายณ์ จำกัด

เก รท มา ชิน ก้า

พระเจ้านรธามังสอ — Google Arts & Culture

‎FB-วรรธคม อินคำปัน‎ **************************************************************************** บริการจัดทัวร์ เชียงตุง เมืองยอง สิบสองปันนา คุนหมิง จีน หลวงพระบาง วังเวียง ลาว มัณฑเลย์ พุกาม ทะเลสาบอินเล ตองจี รัฐฉาน บริษัท เชียงตุงเรียลเอสเตท แอนด์ ทราเวล จำกัด เลขที่ใบอนุญาต 21/00833 โทร: 092-891-2277, 093-2537733, 053-727255 ไลน์ไอดี: @chiangtung เว๊ปไซค์: youtube:

บ้าน มือ สอง รามคำแหง 24 juin

ใหม่!! : นรธาเมงสอและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม » ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา เป็นภาพยนตร์ภาคที่หกซึ่งเป็นภาคสุดท้ายในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 9 เมษายน พ. 2558. ใหม่!! : นรธาเมงสอและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา · ดูเพิ่มเติม » ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี เป็นภาพยนตร์ไทย ภาพยนตร์ภาคที่สามในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยในภาคนี้จะกล่าวถึงสงครามระหว่างไทยและพม่า เน้นฉากสงครามทางเรือ กำหนดฉายในวันที่ 31 มีนาคม.. ใหม่!! : นรธาเมงสอและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี · ดูเพิ่มเติม » ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง เป็นภาพยนตร์ภาคที่สี่ในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 11 สิงหาคม.. ใหม่!! : นรธาเมงสอและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง · ดูเพิ่มเติม » ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี เป็นภาพยนตร์ภาคที่ห้าในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 29 พฤษภาคม..

นรธาเมงสอ - ยูเนี่ยนพีเดีย

สอบ ielts general ยาก ไหม

หลักสูตร แกน กลาง 2551 สุขศึกษา และ พลศึกษา pdf

นรธาเมงสอ หรือ นรทามางจอ หรือ สาวัตถีนรถามังคะยอ หรือ เมงซานรธามังคุย พระนามเดิมว่ามังสาจัจ เป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้ปกครองแคว้นล้านนา ในช่วง พ. ศ. 2121–2150 พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าบุเรงนองกับพระนางราชเทวีแห่งหงสาวดี ที่ส่งมาปกครองล้านนา จนกระทั่ง พ. 2127 เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยาทรงประกาศอิสรภาพจากพม่า จึงทรงพยายามรวบรวมแผ่นดินอีกครั้ง พระองค์ทรงตีแคว้นล้านนาได้ทั้งหมด นรธาเมงสอต่อสู้มิได้ จึงทรงยอมสวามิภักดิ์เป็นประเทศราชในปี พ. 2139 แต่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชก็ทรงให้นรธาเมงสอปกครองต่อไป อย่างไรก็ตาม พระองค์ได้ถวายพระธิดาเป็นพระมเหสีในสมเด็จพระนเรศวรมหาราชด้วย โดยปรากฏในโคลงบทที่ 21 ความว่า

หน้า 276-279. ISBN 978-974-8132-15-0 ↑ นายต่อ (แปล). มหาราชวงษ์ พงษาวดารพม่า. กรุงเทพฯ: ไทยควอลิตี้บุ๊คส์, 2562, หน้า 434 ↑ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและชำระตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่. ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ 700 ปี. เชียงใหม่: ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่, 2538. 320 หน้า. หน้า 96-7. ISBN 974-8150-62-3 ↑ พระยาประชากิจกรจักร. พงศาวดารโยนก. นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2557. 496 หน้า. หน้า 390-393. ISBN 978-616-7146-62-1 ↑ สิงฆะ วรรณสัย, ปริวรรต, โคลงเรื่อง มังทรารบเชียงใหม่, หน้า 14

ศ. 2151 - 2156 รวมระยะเวลา 5 ปี พระองค์เป็นพระโอรสของเจ้าฟ้าสารวตี ปฐมวงศ์ของราชวงศ์พม่าในล้านน. ใหม่!! : นรธาเมงสอและพระชัยทิพ · ดูเพิ่มเติม » พระช้อย ระช้อย หรือ สะโทกะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เจ้าหมองส่วยสโตคอย (พงษาวดารเมืองน่าน) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่จากราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในพระเจ้าเชียงใหม่นรธาเมงสอ หลังจากที่พระราชบิดาสิ้นพระชนม์แล้ว พระราชโอรสทั้ง 3 พระองค์ต่างแย่งชิงราชสมบัติกัน ในที่สุดขุนนางกลุ่มหนึ่งสนับสนุนให้พระองค์ครองราชย์ต่อจากพระบิดาได้สำเร็จในรัชสมัยแรกระหว่าง.. ใหม่!! : นรธาเมงสอและพระช้อย · ดูเพิ่มเติม » พระนางราชธาตุกัลยา ระนางราชธาตุกัลยา (ရာဇ ဓာတု ကလျာ, ; 12 พฤศจิกายน 1559 – พฤศจิกายน 1603) เจ้าหญิงรัชทายาทแห่งพม่าจาก.. ใหม่!! : นรธาเมงสอและพระนางราชธาตุกัลยา · ดูเพิ่มเติม » พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดี ระนางราชเทวี (ရာဇဒေဝီ) เป็นพระมเหสีของพระเจ้าบุเรงนอง พระนางเป็นพระราชมารดาของพระเจ้าเชียงใหม่นรธาเมงสอ, พระนางราชธาตุกัลยาแห่งตองอู, และพระเจ้าสิริสุธรรมราชาแห่งเมาะตะมะ พระนางยังเป็นพระภาคิไนยของพระเจ้านรปติที่ 2 แห่งอังวะ เดิมพระนางมีพระอิสริยยศเป็นพระอัครชายา แต่ต่อมาได้รับสถาปนาเป็นพระมเหสีพระองค์ที่ 3 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม..

ใหม่!! : นรธาเมงสอและพระนางราชเทวีแห่งหงสาวดี · ดูเพิ่มเติม » พระนางวิสุทธิเทวี ระนางวิสุทธิเทวี หรือ สมเด็จเจ้าราชวิสุทธ (? — พ. 2121) เป็นขัตติยราชนารีพระองค์หนึ่งที่สำคัญพระองค์หนึ่งของอาณาจักรล้านนา และเป็นพระกษัตรีย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์มังราย ก่อนที่การปกครองอาณาจักรล้านนาจะตกไปสู่การปกครองของราชวงศ์ตองอู มหาเทวีวิสุทธิได้ให้การยอมรับอำนาจของพม่า และสนองนโยบายการขยายอำนาจจากล้านนาไปสู่กรุงศรีอยุธยา และล้านช้าง โดยใช้ล้านนาเป็นที่มั่น และส่งกองทัพเข้าร่วมรบกับเชียงใหม่ในคราวเสียกรุงศรีอ.. ใหม่!! : นรธาเมงสอและพระนางวิสุทธิเทวี · ดูเพิ่มเติม » พระเจ้าบุเรงนอง ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี.. ใหม่!! : นรธาเมงสอและพระเจ้าบุเรงนอง · ดูเพิ่มเติม » พระเจ้านันทบุเรง นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်, ; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

  • The excel คู ค ต ขาย
  • เงิน ติด ล้อ สาขา ฉะเชิงเทรา
  • พระเจ้านรธามังสอ — Google Arts & Culture
  • เปิดประวัติศาสตร์ พระมเหสีของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช - บริษัท ไชยนารายณ์ จำกัด
  • เลนส์ canon 55 250 ราคา 2
  • ราหู ย้าย 22 ก พ 62

"โยธยามี้พระญา" พระมเหสีอยุทธยาของสมเด็จพระนเรศ ในพงศาวดารพม่า เมื่อพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง (ครองราชย์ พ. ศ. ๒๐๙๔-๒๑๒๔) ทรงพิชิตเมืองเชียงใหม่ได้ใน พ. ๒๑๐๑ พระองค์ทรงปล่อยให้เจ้านายเชียงใหม่ยังคงปกครองบ้านเมืองอยู่ตามเดิม จนกระทั่งพระนางวิสุทธิเทวีเจ้าสิ้นพระชนม์ใน พ. ๒๑๒๑ การสืบทอดสันตติวงศ์ในเมืองเชียงใหม่เกิดขาดช่วง พระเจ้าหงสาวดีบุเรงนองจึงโปรดให้ "อนรธาเมงสอ" พระราชโอรสเสด็จไปเสวยราชสมบัติในเมืองเชียงใหม่แทน ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่เรียกพระองค์ว่า "ฟ้าสาวัตถีนรธามังคอย" พระเจ้าเชียงใหม่อนรธาเมงสอ (ครองราชย์ พ. ๒๑๒๑-๕๐) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนองที่ประสูติแต่ "ราชเทวี" พระมเหสี ซึ่งมีนามเดิมว่า "สิ่นทวยละ" เป็นพระธิดาของจตุคามณิแห่งดีแปยิน พระเจ้าหงสาวดีบุเรงนองโปรดให้พระเจ้าเชียงใหม่อนรธาเมงสออภิเษกสมรสกับ "เซงพยูเชงเมดอ" (แปลว่ามารดาเจ้าช้างเผือก) พระธิดาของพระเจ้าแปรตะโดธรรมราชาพระอนุชาของพระองค์ พระเจ้าเชียงใหม่อนรธาเมงสอมีพระราชโอรสธิดาด้วยมารดาเจ้าช้างเผือกทั้งสิ้น ๓ พระองค์ด้วยกัน ๑. "เมงตุลอง" (พระราชพงศาวดารฯ ฉบับความพิสดารเรียกพระองค์ว่า พระทุลอง) หลังจากพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนองทรงสวรรคตใน พ.